วันเสาร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่14

วันอังคาร ที่ 8 กุมพาพันธ์ 2554

1) วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาวัดความรู้ดังหัวข้อต่อไปนี้
-การจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนควรมีลักษณะอย่างไร
-มุมที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร
-มุมบ้าน
-มุมหมอ
-มุมร้านค้า
-มุมจราจร

2)ข้อคิดสำหรับการสอนภาษา
หลักและเกณฑ์ให้นักศึกษาไปคิดต่อ
1เริ่มจากตัวเด็กก่อน ไม่ว่าจะเป็นความพร้อมหรือสนใจ
2สอนแบบธรรมชาติ
3สอนอย่างมีความหมาย
4สอนจากสิ่งที่เด็กได้พบเห็น หรือมีประสบการณ์มาก่อน
5สอนให้เด็กรู้สึกสนุกและอยากเรียน
6ให้โอกาสเด็กได้ใช้ภาษา
7เด็กอยากอ่านก็ครให้อ่านเด็กแยกเขียนก็ควรให้เขียน

3)เทคนิคที่ไม่ควรนำมาใช้ในการสอนภาษา
1เน้นความจำ
2เน้นการฝึก
3ใช้การทดสอบ
4สอนแต่ละลักษณะแยกจากกัน
5การตีตราเด็ก
6ใช้แบบฝึกที่เป็นกระดาษหรือดินสอเป็นจุดประ
7ไม่ยอมรับความผิดพลาด
8สอนภาษาเฉพาะในเวลาที่กำหนด
9ช่วงการสอนภาษาจะจำกัดเวลา
10จำกัดวัสดุอุปกรณ์อาจเหลือเพียง ดิรสอ หนังสือแบบเรียน


4)เทคนิคที่ควรนำมาใช้ในการสอนภาษา
1สอนในสภาพแวดล้อมที่เป็นธรรมชาติ
2สอนสิ่งที่มีความหมายสำหรับเด็ก
3สอนจากสิ่งที่รู้ไปสู่สิ่งที่ไม่รู้
4บรูณาการเข้ากับสาขาวิชาเรียน
5ให้โอกาสเด็กทุกคนเรียนรู้ภาษา
6ใช้ความคิดและถ้อยคำของเด็ก
7ยอมรับการคาดเดาของเด็ก
8ให้โอกาสเด็กอย่างมากมาย
9จัดหาเครื่องเครื่องใช้ต่างๆ
10ทำให้การเรียนรู้น่าสนใจ และสนุกสนาน

5)อาจารย์ให้นักศึกษาฟังเพลงเกาะสมุยแล้วให้นักศึกษาเขียนส่งดังนี้
-นักศึกษาฟังเพลงเกาะสมุยแล้วรู้สึกอย่างไร
-เนื้อเพลงเกษะสมุยมีเนื้อหาว่าอย่งไร

6)ความรู้สึกในการเรียนการสอนวันนี้ ได้รับความรู้และเนื้อที่ดีมากสามาถเข้าใจได้ง่าย


น.ส.จินตนา พงษ์สระพัง 5211207419
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่13

วัน อังคาร ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554
ความรู้ของเด็กจะเพิ่มพูนขึ้นเมื่อเด็กได้รับโอกาสในการทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอ่านร่วมกับผู้ใหญ่และกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้อ่านเงียบๆตามลำพัง การอ่านกับเพื่อนเป็นคู่ เป็นกลุ่มย่อย เพื่ออภิปรายร่วมกันในการรับฟัง และตรวจสอบความจริงความเข้าใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะอ่านจากสิ่งที่ครูและเด็กเขียนร่วมกัน หรือสิ่งที่เด็กเขียนขึ้นเอง นับได้ว่าเป็นการอ่านที่ดีที่สุดของเด็ก
ลักษณะสำคัญและกิจกรรมทรงภาษาแบบองค์รวม
การอ่าน – การเขียน
-เน้นความเข้าใจเนื้อหาเรืองมากกว่าการท่องจำ ตัวหนังสือ ผ่านการฟังนิทานเรื่องราวสนทนาโต้ตอบคิดวิเคราะห์กับครูหรือผู้ใหญ่
-การคาดคะเนโดยการเดาในขณะอ่าน เขียน และสะกด เป็นสิ่งที่ยอมรับได้ในการเรียนรู้ภาษาธรรมชาติ โดยไม่จำเป็นต้องอ่าน หรือสะกดถูกต้องทั้งหมด
- มีหนังสือ วัสดุสิ่งพิมพ์ต่างๆให้เด็กเป็นผู้เลือกเพื่อได้รับประสบการณ์ทางภาษาอย่างหลากหลาย
- ครูแนะนำและสอนการอ่านในกลุ่มที่ไม่ใหญ่มากโดยใช้หนังสือเล่มใหญ่ที่เห็นชัดเจนทั่วกัน
- ให้เด็กแบ่งกลุ่มเล็กๆ ผลัดการอ่านด้วยการออกเสียงดังๆ


น.ส.จินตนา พงษ์สระพัง 5211207419
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์

วันจันทร์ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 12

วันอังคาร ที่ 25 มกราคม 2554
ครั้งที่ 12 ( 25มกราคม54)
-อาจารย์ให้นักศึกษาร้องเพลง
เพลง สวัสดี
สวัสดี ๆ ๆ ยินดีที่พบกัน
เธอและฉัน พบกันสวัสดี
เพลง ชื่อของเธอ
ชื่อของเธอฉันไม่รู้จัก ครูถามทักนักเรียนเข้าใหม่
ชื่อของเธอฉันจำไม่ได้ ชื่ออะไรขอให้บอกมา
-ให้นักศึกษาถอดรหัสคำ
เพลง แปรงฟัน
แปรงสิ แปรง แปรง ฟัน
ฟัน หนู สวย สะอาดดี
แปรงขึ้น แปรงลง ทุกซี่
สะอาดดีเมื่อหนูแปรงฟัน
เพลง แมลงมุมลายตัวนั้น
เพลง กระต่าย
เพลงบอกว่าน่ารักจัง
-ภาษาธรรมชาติ
การสอนภาษาโดยองค์รวม
--โคมินิอุส— เด็กสามารถค้นพบข้อมูลใหม่ๆได้ด้วยการนำเสนอด้วยสิ่งที่เด็กคุ้นเคยในชีวิตอยู่แล้ว เด็กจะเข้าใจในสิ่งของที่เป็นรูปธรรมได้โดยการใช้ภาษาถิ่นหรือภาษาในชีวิตประจำวัน
--กู๊ดแมน สมิธ เมอร์ริดิช—ความรู้จะเกิดขึ้นอย่างพรั้งพรูจากกระบวนการเรียนรู้ และมีพัฒนาการภาษาพูด ภาษาเขียน ซึ่งครูจะเน้นได้ชัดเจนจากการที่เด็กๆ นั้นอาศัยภาษาเป็นสื่อในการอ่าน ครูใช้ภาษาทุกทักษะ ด้านการพูด อ่าน เขียน แบบองค์รวมในทุกกิจกรรมในห้อง
--จูดิน นิวแมน—การสอนโดยแนวคิดองค์รวม มีลักษณะเป็นปรัชญา
--จอห์น ดิวอี้— การเรียนรู้ภาษาของเด็ก เกิดจากประสบการณ์ตรง โดยการลงมือด้วยตนเอง
--เพียเจท์— เด็กจะเรียนรู้ผ่านกิจกรรมด้วยการเคลื่อนไหว และมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมผ่านการเล่น…..

น.ส.จินตนา พงษ์สระพัง 5211207419
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 11

วัน อังคาร ที่ 18 มกราคม 2554
ครั้งที่ 11 (18ม.ค 54)
ให้นักศึกษาออกมาแสงตามหัวข้อ
1.คำคล้องจอง
2.หนูรู้สึกยังไง
3.ครอบครัวของฉัน
4.ฟังและปฎิบัติ
5.คำตรงกันข้าม
6.กระซิบต่อกัน
7.วาดภาพแล้วนำมาเล่าภาพต่อกัน
8.ร้องเพลง
9.วาดไปเล่าไป

น.ส.จินตนา พงษ์สระพัง 5211207419
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 10

วันเสาร์ที่ 15มกราคม 2554 ( เรียนชดเชย )
1) วันนี้อาจารย์ ได้สอนเกี่ยวกับ โครงสร้างของภาษามีดังนี้
- ระยะแยกแยะ อายุ6เดือน-1ปี ในระยะนี้ เด็กจะเริ่มแยกแยะสิ่งที่เขาได้ยิน เช่น เสียงพุโของแม่
- ระยะเลียนแบบ อายุ 1-2ปี เสียงที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมโดดยเฉพาะเสียฃของคนที่ใกล้ชิดเป็นเสียงที่เด็กวัยนี้สนใจและเริ่มเลียนแบบ เสียงที่เด็กเปล่งออกมาจะเริ่มมีความหมายและแสดงกิริยาตอบสนองการได้ยินของผู้อื่น
- ระยะขยาย 2-4ปี เด็กจะเริ่มหัดพุดโดยการเปล่งเสียงออกมาเป็นคำโดยระยะแรกจะพูดโดยเรียกชื่อของคนที่อยู่รอบข้าง สิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวรวมทั้งคำคุณศัทพ์ที่ผู้ใหญ่พูดกัน
- ระยะโครงการ อายุ4-5ปี การรับรู้หรือการสังเกตของเด็กวัยนี้ดีขึ้นมากซึ่งทำให้เด็กได้สังเกตการใช้ภาของบุคลรอบข้างและนำมาทดลองใช้ ประสบการณ์ที่เด็กได้รับ เช่น จากการฟังนิทาน ดูรายการโทรทัศน์ การเล่นกับเพื่อน หรือพี่น้องการพูดคุยกับผู้ใหญ่ช่วยให้เด็กเก็บข้อมูลทางภาษาเพิ่มมากขึ้น
- ระยะตอบสนอง อายุ5-6ปี ได้พัฒนาทางภาษา ได้พัฒนาคำศัพท์เพิ่มรู้จักการใช้ประโยคเป็นระบบตามหลักไวยกรณ์
-ระยะสร้างสรรค์ อายุตั้งแต่6 ปีขึ้นไป เด็กจะสามารถพัฒนาทางภาษาดีมากขึ้น สารถจดจำทางภาษามากขึ้นสำหรับด้านการพูด สามารถใช้ถ้อยคำที่เป็นสำนวนความหมายลึกซึ้งได้เด้กจะพัฒนาวิเคราะหืและสร้างสรรค์ทักษทางภาษาได้สูงขึ้น
- สรุป การเรียนภาษาเป็นกระบวนการต่อเนื่องเด็กจะเรียนภาษาพูดและกฎเกณฑ์ต่างๆ จากการฟังเสียง

น.ส.จินตนา พงษ์สระพัง 5211207419
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 9

วันอังคารที่ 11 มกราคม 2554
-อาจารย์ให้นักศึกษานึกประโยคคำพังเพย และออกไปทำท่าให้เพื่อนทาย
-อาจารย์ให้นักศึกษาส่งงาน ฉัน ชอบ กิน
-อาจารย์อธิบายการทำสื่อสำหรับเด็กปฐมวัย
-อาจารย์แจกงานคืนให้กับนักศึกษา
-อาจารย์ให้ส่งสมุดเล็ก
มนุษย์ใช้การสื่อสารระหว่างกันด้วยวิธีการหลายรูปแบบ วิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดคือ การใช้ภาษาพูดและการเขียน การพัฒนาการใช้ภาษาดังกล่าว จะช่วยให้เด็กเข้าใจ และเรียนรู้สิ่งต่างๆ ในสิ่งแวดล้อมได้ดีขึ้น อาจารย์อธิบายสมุดเล่มเล็กทำแล้วได้อะไรบ้าง (เด็กก็จะได้ภาษา)
เด็กปกติทุกคนทุกแห่งจะสามารถเรียนภาษาในสังคมของตนเอง เด็กเล็กจะมีความจำกัดของความสามารถทางสมอง แต่ถึงอย่างไรก็ตาม เด็กอายุสามถึงสี่ปี สามารถเรียนความซับซ้อนของประโยคในภาษาของตนเอได้แล้ว ดูเหมือนว่าเด็กจะเรียนรู้กฎของภาษาจากภาษาพูดที่ตนได้ยิน และประโยคที่เด็กพูดจะเป็นประโยคที่เด็กสร้างขึ้นมาใหม่มากกว่าการเรียนแบบ การเรียนรู้ภาษาของเด็กนั้น เด็กจะต้องเรียนรู้โดยการฟังคนพูด และการอยู่ในสถารณการณ์นั้นๆด้วย เด็กจะพยายามเข้าใจในสิ่งที่ตนได้ยิน และพยายามแสดงออกถึงความเข้าใจ
-ทักษะทางภาษา
1.โฆษณา
2.ประชาสัมพันธ์
3.ประกาศ
4.ของรักของหวง
5.เล่าเรื่องจากภาพ
6.เล่าประสบการณ์

น.ส.จินตนา พงษ์สระพัง 5211207419
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 8

วันอังคารที่ 4 มกราคม 2554
-อาจารย์ให้นักศึกษาเรียงตัวอักษรพยัญชนะโดยให้เติมตัวเลขในช่องวงกลม
-อาจารย์ให้นักศึกษาพับกระดาษแล้วทำเป็นสมุดเล่มเล็กพร้อมกับเนื้อหาของเรื่องที่จะนำเสนอ
เนื้อหาในชั่งโมงเรียน
ความหมายของภาษา
1ภาษาเป็นสัญลักษณ์หรือรหัส(code)ใช้แทนสัตว์สิ่งของ สถานที่ กิริยาอาการและเหตุการณ์ เช่น เด็ก กิน ขนม
2ภาษาเป็นสัญลักษณ์ของมโนทัศน์เกี่ยวกับโลกหรือ ประมวลประสบการณ์ เช่น บ้าน ประเทศ ความเศร้าโศก
3ภาษาเป็นระบบโดยมีระบบเกณฑ์ที่ค่อนข้างจะคงที่ เช่น มีคำที่เป็นประธาน กิริยา กรรม
องค์ประกอบของภาษา
เสียง
-การอ่าน
-ระบบเสียง
-สัญลักษณ์การอ่าน
-ตัวอักษร
ไวยกรณ์
-คำ
-ประโยค
ความหมาย
-คำศัพท์
-ประโยกข้อความ
ความหมายของจุดมุ่งหมายการสอนภาษา
1การใช้ภาษาเน้นวิธีการสื่อสารอย่างมีความหมาย
2การฟังและประสบการณ์ การอ่านเน้นที่การเข้าใจความหมาย
3การพูดและประสบการณ์การเขียนเน้นการสร้างหรือแสดงออกถึงความหมาย
ลักษณะของภาษา
เนื้อหาของภาษาได้แก่ หัวข้อ เนื้อเรื่อง หรือความหมายของสารจะใช้สื่อกับผู้อื่นประกอบ ชื่อของคน สัตว์ สิ่งของ เหตุการณ์
เนื้อหาของภาษา
ชื่อ - ชื่อฉพาะ -อาคาร
- ชื่อทั่วไป - สุนข
ความสัมพันธ์ - บอกความเป็นอยู่
-บอกสัญลักษณ์
-บอกการกระทำ
เหตุการณ์ - เวลาและเหตุผล
- ความรู้สึก เวลา

น.ส.จินตนา พงษ์สระพัง 5211207419
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์